พิธีเป่าหูเด็กทารกของชนเผ่าพื้นเมืองในเขตเตยเงวียน

พิธีเป่าหูเด็กทารกของชนเผ่าพื้นเมืองในเขตเตยเงวียน

(VOVWORLD) - ในวิถีชีวิตชุมชนของกลุ่มชาติพันธุ์ต่างๆในเขตเตยเงวียนที่ราบสูงตอนกลางของเวียดนามยังคงรักษาและปฏิบัติประเพณีวัฒนธรรมต่างๆตามความเชื่อของชาวบ้าน และหนึ่งในนั้นคือประเพณีการจัดพิธีเป่าหูทารกในช่วงอายุ 1 ถึง 3 เดือนหลังจากมีการตั้งชื่อแล้ว ซึ่งเป็นพิธีกรรมเพื่อถ่ายทอดความปรารถนาและความคาดหวังให้ถึงเทพเจ้าและบรรพบุรุษเพื่อประทานพรและปกป้องคุ้มครองให้เด็กเติบโตแข็งแรงเป็นคนดี
พงศาวดาร บานา เอกลักษณ์แห่งชีวิตวัฒนธรรมของชุมชนชาวเตยเงวียน

พงศาวดาร บานา เอกลักษณ์แห่งชีวิตวัฒนธรรมของชุมชนชาวเตยเงวียน

(VOVWORLD) -ชนเผ่าบานาก็เหมือนกับชนเผ่าอื่นๆที่อาศัยในเขตที่ราบสูงเตยเงวียนซึ่งต่างก็มีวัฒนธรรมที่เป็นเอกลักษณ์รวมทั้งศิลปะการแต่งและขับเสภาพงศาวดารหรือในภาษาพื้นบ้านเรียกว่า เฮออามอน ซึ่งเป็นผลงานด้านวัฒนธรรมที่มีบทบาทสำคัญต่อความสัมพันธ์ของชุมชน เป็นสายใยที่เชื่อมระหว่างอดีตและปัจจุบัน ระหว่างมนุษย์กับบรรพบุรุษ สะท้อนความปรารถนาของประชาชาติเกี่ยวกับชีวิตที่สันติสุข...
ประเพณี “ยูเอนูเอ”ของชาวเอเด

ประเพณี “ยูเอนูเอ”ของชาวเอเด

(VOVWORLD) -ประเพณี “Jue nue” (ยูเอ นูเอ) หรือการเชื่อมสายสัมพันธ์ทางเครือญาติในครอบครัวของชาวเอเดเป็นหนึ่งในประเพณีดั้งเดิมที่ชาวเอเดยังปฏิบัติมาจนถึงทุกวันนี้แม้จะมีการเปลี่ยนแปลงไปบางส่วน โดยตามนั้นเมื่อครอบครัวไหนสามีเสียชีวิต...
เพลง เออีเรย์ - การเล่าเรื่องชีวิตด้วยดนตรีพื้นเมือง

เพลง เออีเรย์ - การเล่าเรื่องชีวิตด้วยดนตรีพื้นเมือง

(VOVWORLD) -เมื่อพูดถึงเพลงพื้นเมืองของชาวเผ่าเอเด มักจะมีการกล่าวถึงทำนองเพลง เคอุ๊ตและเพลงเออีเรย์ ซึ่งเป็นสองทำนองเพลงพื้นเมืองที่แตกต่างกันในลักษณะเนื้อร้อง โดยเพลงทำนอง เคอุ๊ต มีลาลาที่เอื้อนเอ่ยยาวเหยียดด้วยจังหวะที่สม่ำเสมอไม่มีการขึ้นลงที่ชัดเจน...
เคปาน-เก้าอี้แห่งอำนาจของชาวเผ่าเอเด

เคปาน-เก้าอี้แห่งอำนาจของชาวเผ่าเอเด

(VOVWORLD) -Kpan-เคปานคือชื่อของเก้าอี้ชนิดหนึ่งในชุมชนเผ่าเอเดที่ทำจากท่อนไม้ตั้งอยู่ในบ้านยาว ซึ่งมักจะเป็นที่นั่งสำหรับคณะฆ้องกลองในงานเทศกาลสำคัญต่างๆ แต่ตามความเลื่อมใสที่ปฏิบัติกันมาแต่โบราณชาวเอเดถือว่า เคปานคือเก้าอี้แห่งอำนาจเพราะมีแต่คนที่มีฐานะดีมีเงินมีทองเพื่อสร้างบ้านยาวถึงจะใช้เก้าอี้นี้เท่านั้น
งานเทศกาล อาเรียวปิง ของชนเผ่า ปาโก

งานเทศกาล อาเรียวปิง ของชนเผ่า ปาโก

(VOVWORLD) -ในจำนวนงานเทศกาลใหญ่ต่างๆของชาวปาโก งานอาเรียวปิง ถือเป็นงานใหญ่ที่สุดที่สะท้อนเอกลักษณ์วัฒนธรรมและความเลื่อมใสของชาวบ้านในการแสดงความกตัญญูต่อผู้หลักผู้ใหญ่และบรรพบุรุษ นี่ยังเป็นงานเทศกาลที่สะท้อนให้เห็นถึงจิตใจแห่งความสามัคคีและความผูกพันในชุมชนชาวปาโกเพื่อพัฒนาบ้านเมืองให้อิ่มหนำผาสุก
เอกลักษณ์ที่น่าสนใจในพิธีแต่งงานของชาว ปาโก

เอกลักษณ์ที่น่าสนใจในพิธีแต่งงานของชาว ปาโก

(VOVWORLD) -ในพิธีกรรมต่างๆเกี่ยวกับวงจรชีวิตนั้น ชาวปาโกให้ความสำคัญต่อพิธีแต่งงานและสินสอดทองหมั้น ซึ่งเมื่อหนุ่มสาวถึงวัยแต่งงานมีครอบครัว พ่อแม่ของทั้งสองฝ่ายก็ต้องเตรียมสิ่งของสำหรับใช้ในพิธีสำคัญนี้อย่างรอบคอบและสมบูรณ์รวมถึงการพิธีการร้องรำทำเพลงแบบพื้นเมืองในวันงานก็เป็นอีกขั้นตอนที่ขาดมิได้
เทศกาล อายา ของชาวปาโก

เทศกาล อายา ของชาวปาโก

(VOVWORLD) -เทศกาลอายา หรือเทศกาลบุญข้าวใหม่ ถือเป็นงานชุมชนประจำปีที่สำคัญที่สุดของชนเผ่าปาโก โดยมักจะจัดขึ้นในวันที่6เดือน11ตามจันทรคติเพราะถือเป็นช่วงที่มีฤกษ์ดีที่สุดของปี ซึ่งการจัดงานมีสองส่วนที่เป็นพิธีกรรมสำหรับการเซ่นไหว้และงานรื่นเริ่งที่สะท้อนความหมายเพื่อขอบคุณฟ้าดินและขอให้การเก็บเกี่ยวได้ผลดี ซึ่งนับเป็นหนึ่งในงานเทศกาลที่สะท้อนให้เห็นเอกลักษณ์ด้านความเลื่อมใสและวัฒนธรรมของชาวปาโกอย่างเด่นชัด
ชนกลุ่มน้อย ปาโก

ชนกลุ่มน้อย ปาโก

(VOVWORLD) -ปาโกเป็นกลุ่มชาติพันธุ์ที่อาศัยบนเทือกเขาเจื่องเซิน ซึ่งส่วนใหญ่พบที่จังหวัดกว๋างจิและเถื่อเทียนเว้ แม้การดำรงชีวิตมีความเรียบง่ายแบบธรรมชาติแต่ก็สามารถสร้างเป็นเอกลักษณ์เฉพาะให้แก่ชนเผ่าปาโก
ประเพณีการแต่งงานของชนเผ่าโลโล

ประเพณีการแต่งงานของชนเผ่าโลโล

(VOVWORLD) - แม้จะอาศัยในเขตเขาสูงและชีวิตความเป็นอยู่ยังคงมีความลำบากในหลายด้านแต่ชุมชนเผ่าโลโลก็ยังคงสามารถอนุรักษ์เอกลักษณ์วัฒนธรรมเฉพาะของตนได้อย่างหลากหลายและสมบูรณ์ โดยเฉพาะประเพณีการแต่งงานถือเป็นหนึ่งในกิจกรรมที่สะท้อนให้เห็นเอกลักษณ์วัฒนธรรมของชาวโลโลอย่างเด่นชัดที่สุด
ประเพณีการบูชาบรรพบุรุษของชนเผ่าโลโล

ประเพณีการบูชาบรรพบุรุษของชนเผ่าโลโล

(VOVWORLD) -ตามความเชื่อของชาวเผ่าโลโล ปู่ย่าตายายและพ่อแม่เป็นผู้ที่มีพระคุณให้กำเนิดและเลี้ยงดูเราจนเติบโตดังนั้นลูกหลานต้องมีความกตัญญูและต้องเคารพบูชาเมื่อท่านเสียชีวิต โดยงานเซ่นไหว้บูชาบรรพบุรุษนั้นได้จัดขึ้นในวันสำคัญต่างๆของปีคือวันปีใหม่ วันขึ้น15ค่ำเดือน7จันทรคติ หรือในวันงานสำคัญของครอบครัวเช่นงานขึ้นบ้านใหม่ งานแต่งงาน เป็นต้น
ดนตรีและเพลงพื้นเมืองของชนเผ่าโลโล

ดนตรีและเพลงพื้นเมืองของชนเผ่าโลโล

(VOVWORLD) -ชนเผ่าโลโลเป็นหนึ่งในกลุ่มชาติพันธุ์ส่วนน้อยที่มีประวัติศาสตร์การพัฒนาและวัฒนธรรมที่ยาวนานที่สุด ชาวโลโลจึงมีความภูมิใจในความหลากหลายทางวัฒนธรรมและศิลปะพื้นเมืองที่สะท้อนผ่านการรำและเพลงพื้นเมืองที่ไพเราะลึกซึ้งและละเอียดอ่อน เปี่ยมด้วยความรักใคร่กันระหว่างมนุษย์ ธรรมชาติและชีวิตสังคม
ประเพณีการไปขอโทษตอนเช้าของชาวเซอดัง

ประเพณีการไปขอโทษตอนเช้าของชาวเซอดัง

(VOVWORLD) -ในการดำเนินชีวิตนั้นการหลีกเลี่ยงปัญหาการเข้าใจผิดหรือความขัดแย้งกันเป็นสิ่งที่ทำได้ยากดังนั้นตั้งแต่โบราณกาล ชนเผ่าเซอดังได้มีประเพณีการไปขอโทษเพื่อไกล่เกลี่ยปัญหาต่างๆระหว่างบุคคล ครอบครัวหรือชุมชนและสิ่งที่พิเศษในการปฏิบัติประเพณีนี้คือต้องปฏิบัติในตอนเช้าของวันรุ่งขึ้นและแม้จะเป็นเรื่องใหญ่หรือเรื่องเล็กแต่ถ้าการไปขอโทษได้ปฏิบัติในตอนเช้าทุกอย่างก็จะได้รับการแก้ไขด้วยดี
เอกลักษณ์บ้านโรงของชาวเซอดัง

เอกลักษณ์บ้านโรงของชาวเซอดัง

(VOVWORLD) -เมื่อมาเที่ยวหมู่บ้านชนกลุ่มน้อยต่างๆในเขตเตยเงวียน สิ่งปลูกสร้างที่โดดเด่นและสร้างความประทับใจให้แก่นักท่องเที่ยวคือบ้านโรงหรือบ้านกลางของชุมชนที่ตั้งอยู่ใจกลางของหมู่บ้าน ซึ่งนี่ไม่เพียงแต่เป็นสถาปัตยกรรมที่เป็นเอกลักษณ์เท่านั้นหากยังเป็นสถานที่แห่งความศักดิ์สิทธิ์ของชุมชนชาวเซอดังอีกด้วย
เพลงและเครื่องดนตรีพื้นเมืองของชนเผ่าเซอดัง

เพลงและเครื่องดนตรีพื้นเมืองของชนเผ่าเซอดัง

(VOVWORLD) -ชนเผ่าเซอดังมีคลังวัฒนธรรมศิลปะที่หลากหลายทั้งเพลงพื้นเมือง เครื่องดนตรี การระบำรำฟ้อนและการแสดงฆ้อง ซึ่งที่น่าสนใจที่สุดคือเครื่องดนตรีที่เปรียบเสมือนเป็นเสียงแห่งป่าเขาลำเนาไพรแห่งเตยเงวียน
ชุดพื้นเมืองของชนเผ่าเซอดัง

ชุดพื้นเมืองของชนเผ่าเซอดัง

(VOVWORLD) -เซอดังเป็นหนึ่งในชนกลุ่มน้อยที่มีชุดพื้นเมืองเรียบง่ายแต่ก็ได้สะท้อนความเป็นเอกลักษณ์เฉพาะของชนเผ่าตนพร้อมชื่อเสียงในอาชีพทอผ้าพื้นเมืองที่ยาวนานที่สุดในเขตเตยเงวียน ซึ่งชุดพื้นเมืองนั้นมีอะไรพิเศษขอเชิญท่านร่วมกับนักข่าวของวิทยุเวียดนามไปศึกษาเกี่ยวกับชุดประจำชนเผ่าเซอดังในเตยเงวียน
ชนกลุ่มน้อยเซอดังในเขตที่ราบสูงเตยเงวียน

ชนกลุ่มน้อยเซอดังในเขตที่ราบสูงเตยเงวียน

(VOVWORLD) -เซอดังเป็นกลุ่มชาติพันธุ์ที่อาศัยในเขตเตยเงวียนยาวนานที่สุดและในกระบวนการพัฒนาชุมชนของตน ชาวเซอดังได้พยายามรักษาวัฒนธรรมพื้นเมืองของชนเผ่าตนไว้อย่างสมบูรณ์ ซึ่งถือเป็นเอกลักษณ์ที่โดดเด่นที่สร้างความแตกต่างกับชนเผ่าอื่นๆที่อาศัยในพื้นที่เดียวกัน
แหวนหมั้น สัญลักษณ์แห่งความรักของชนเผ่าจูรู

แหวนหมั้น สัญลักษณ์แห่งความรักของชนเผ่าจูรู

(VOVWORLD) -ในคลังวัฒนธรรมประเพณีที่โดดเด่นต่างๆของชนเผ่าจูรูที่น่าสนใจคือประเพณีต่างๆในงานแต่งงาน โดยเฉพาะแหวนหมั้นของคู่รัก ซึ่งเป็นสัญลักษณ์ที่บ่งบอกถึงความรักความผูกพันระหว่างหนุ่มสาวเผ่าจูรู
เอกลักษณ์วัฒนธรรมของ ชนเผ่าจูรู ในเขตเตยเงวียน

เอกลักษณ์วัฒนธรรมของ ชนเผ่าจูรู ในเขตเตยเงวียน

(VOVWORLD) -วัฒนธรรมของชนเผ่า จูรู ถือเป็นเอกลักษณ์อย่างหนึ่งที่สร้างความดึงดูดใจให้แก่ผู้ที่มีโอกาสเยือนเขตที่ราบสูงเตยเงวียนจนหลงรักและอยากค้นคว้าสิ่งที่แปลกใหม่อีกมากมายตั้งแต่ชุดแต่งกาย ศิลปะพื้นเมืองไปจนถึงอาชีพการทำเครื่องเคลือบดินเผา ซึ่งเป็นเอกลักษณ์วัฒนธรรมที่ชาวจูรูได้พยายามอนุรักษ์และพัฒนาอย่างสมบูรณ์มาจนถึงทุกวันนี้
ชนเผ่าจูรูในเวียดนาม

ชนเผ่าจูรูในเวียดนาม

(VOVWORLD) -จูรู เป็นหนึ่งในกลุ่มชาติพันธุ์พื้นเมืองที่ยาวนานที่สุดในเขตที่ราบสูงเตยเงวียน แม้จะมีประชากรจำนวนน้อยแต่เอกลักษณ์วัฒนธรรมเฉพาะของชาวจูรูได้ช่วยสร้างความโดดเด่นให้แก่คลังวัฒนธรรมชนเผ่าต่างๆในเตยเงวียนทั้งด้านประเพณี งานเทศกาล เพลงและดนตรีพื้นเมืองรวมทั้ง ตำนานนิทานเกี่ยวกับความเป็นมาของชาวเผ่าจูรู
ดิงตู๊ด เครื่องดนตรีพื้นบ้านของชนเผ่าแหยเจียง

ดิงตู๊ด เครื่องดนตรีพื้นบ้านของชนเผ่าแหยเจียง

(VOVworld)- ชนกลุ่มน้อยแหยเจียงมีหลักแหล่งอาศัยอยู่ทางทิศเหนือของจังหวัดต่างๆในเขตที่ราบสูงเตยเงวียนรวมประชากรราว3หมื่น3พันคน นอกจากนั้น ที่อ.เขตเขานามยางในจังหวัดกว๋างนามก็มีชุมชนเผ่าแหยเจียงที่มีประชากรกว่า1หมื่น9พันคนคิดเป็นร้อยละ39ของจำนวนประชากรเผ่าแหยเจียงในทั่วประเทศเวียดนาม ซึ่งในด้านชีวิตวสัฒนธรรมนั้น การแสดงดนตรีศิลปะพื้นเมืองนั้นถือว่ามีความหลากหลายด้วยการประกอบของเครื่องดนตรีหลายชนิดโดยเฉพาะ...